บ้านทุ่งเสม็ด
                ตั้งอยู่  หมู่ที่ 2 ตำบลห้วยน้ำขาว  อำเภอคลองท่อม  จังหวัดกระบี่ เป็นหมู่บ้านที่ตั้งมานานสมัยก่อตั้งอำเภอ การตั้งชื่อหมู่บ้าน ตั้งตามลักษณะภูมิประเทศ ที่มี ต้นเสม็ด ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ขึ้นแถบชายทะเล ขึ้นอยู่มากมายเป็นทุ่งกว้าง เมื่อก่อตั้งหมู่บ้าน จึงตั้งชื่อว่า  “ บ้านทุ่งเสม็ด “   จนถึงปัจจุบัน ชุมชนบ้านทุ่งเสม็ด เป็นชุมชนที่คนในหมู่บ้านส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม มีการตั้งหมู่บ้านเป็นกลุ่มๆ ชาวบ้านส่วนใหญ่รักสงบ ปัจจุบันมีกลุ่มนายทุน เข้าไปบุกรุกที่ดินเพื่อทำนากุ้งกันมากมาย ทำให้ต้นเสม็ดค่อยๆ ถูกทำลายไป ไม่ค่อยมีให้เห็นมากนัก
ที่ตั้ง  บ้านทุ่งเสม็ด ตั้งอยู่ในตำบลห้วยน้ำขาว ห่างจากหมู่ที่ 2 ตำบลคลองท่อมใต้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ  18  กิโลเมตร
อาณาเขต 
                ทิศเหนือ                จด           หมู่ที่ 10 บ้านน้ำขาวตก ตำบลห้วยน้ำขาว
                ทิศใต้                     จด           คลองยาง  อำเภอเกาะลันตา
                ทิศตะวันตก          จด           ทะเล
                ทิศตะวันออก       จด           หมู่ที่ 3 บ้านน้ำร้อน ตำบลห้วยน้ำขาว
อาชีพ
                ชาวบ้านทุ่งเสม็ด ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทำสวนปาล์มน้ำมัน  สวนยางพาราและอาชีพ
ประมง  เป็นอาชีพหลัก
ศาสนา
                ชาวชุมชนบ้านทุ่งเสม็ด ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประมาณ  95  %
ลักษณะทั่วไปของบ้านทุ่งเสม็ด
                - มีเนื้อที่  ประมาณ              8,425  ไร่
                - มีจำนวนครัวเรือน               246   ครัวเรือน
                - มีประชากรทั้งหมด           1,044  คน ชาย  530  คน  หญิง  514  คน
ลักษณะภูมิประเทศ
                บ้านทุ่งเสม็ด มีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบชายฝั่ง อยู่ติดทะเล  โดยทั่วไป มี 2  ฤดู
คือฤดูฝนและฤดูร้อน  ในฤดูร้อน อากาศค่อนข้างร้อน เนื่องจากอยู่ติดทะเล มีลมทะเลพัดเอาความร้อนเข้ามา
สภาพทางเศรษฐกิจ
                - ประชากรมีรายได้เฉลี่ย                    28,011.49              บาท/คน/ปี
                - ครัวเรือนมีการออมร้อยละ                     85.8
                - ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา  สวนปาล์มน้ำมัน และอาชีพประมง
เป็นอาชีพหลัก
               - ประชาชน มีไฟฟ้าใช้ ทุกครัวเรือน มีเส้นทางคมนาคมสะดวก เป็นถนนลาดยางทั้งหมู่บ้าน  การขนส่งผลผลิตไปจำหน่ายสะดวกทั้งปี
สภาพทางสังคม
              -   สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านทุ่งเสม็ด มีความมั่นคงถาวร มีการจัดระเบียบบ้านเรือนถูก   สุขลักษณะ  ครัวเรือนมีความอบอุ่น
-   ประชาชนส่วนใหญ่มีสุขภาพดี คนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
 100 % 
                -   เด็กและเยาวชน ได้รับการศึกษาภาคบังคับทุกคน ประชาชนอายุระหว่าง 15 – 60 ปี     อ่านออกเขียนได้เป็นส่วนใหญ่    
                -   คนพิการและคนสูงอายุได้รับการดูแลอย่างดี
                -   ครัวเรือนในหมู่บ้านทุ่งเสม็ด ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มที่ตั้งขึ้นในตำบล
ประเพณี
                ชาวชุมชนบ้านทุ่งเสม็ดส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งจะมีประเพณีที่สำคัญ คือประเพณีการถือศีลอด  ในเดือนรอมาฎอน คือเดือนแห่งการถือศีลอด และวันราญอฟิตตรีห์
(ราญอปอซอ) หรือประเพณีการออกบวชซึ่งจัดขึ้นหลังจากประเพณีการถือศีลอด ขาวชุมชนจะช่วยกันทำความสะอาดสุสาน(กุโบ) และทำอาหารแจกจ่ายกันระหว่างเพื่อนบ้านและเครือญาติ
    

                                                   …………………………………..            

บ้านท่าประดู่
                ตั้งอยู่  หมู่ที่ 4 ตำบลห้วยน้ำขาว  อำเภอคลองท่อม  จังหวัดกระบี่ เป็นหมู่บ้านที่ตั้งมานานสมัยก่อตั้งอำเภอ การตั้งชื่อหมู่บ้าน ตั้งตามลักษณะภูมิประเทศ ที่มี ต้นประดู่ ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ขึ้นอยู่บริเวณท่าเรือ เมื่อก่อตั้งหมู่บ้าน จึงตั้งชื่อว่า  “ บ้านท่าประดู่ “   จนถึงปัจจุบัน ชุมชนบ้านท่าประดู่ เป็นชุมชนที่คนในหมู่บ้านส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม มีการตั้งหมู่บ้านเป็นกลุ่มๆ ชาวบ้านส่วนใหญ่รักสงบ ปัจจุบันมีกลุ่มนายทุน เข้าไปบุกรุกที่ดินเพื่อทำนากุ้งกันมากมาย
ที่ตั้ง  บ้านท่าประดู่  ตั้งอยู่ในตำบลห้วยน้ำขาว ห่างจากหมู่ที่ 2 ตำบลคลองท่อมใต้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ  13   กิโลเมตร
อาณาเขต 
                ทิศเหนือ                จด           ทะเล
                ทิศใต้                     จด           หมู่ที่ 8  บ้านควน  ตำบลห้วยน้ำขาว
                ทิศตะวันตก          จด           หมู่ที่ 3 บ้านน้ำร้อน ตำบลห้วยน้ำขาว
                ทิศตะวันออก       จด           ทะเล
อาชีพ
                ชาวบ้านท่าประดู่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทำสวนปาล์มน้ำมัน  สวนยางพาราและอาชีพ
ประมง  เป็นอาชีพหลัก
ศาสนา
                ชาวชุมชนบ้านท่าประดู่ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประมาณ  95  %
ลักษณะทั่วไปของบ้านท่าประดู่
                - มีเนื้อที่  ประมาณ              7,200  ไร่
                - มีจำนวนครัวเรือน              114   ครัวเรือน
                - มีประชากรทั้งหมด           550  คน ชาย  284  คน  หญิง  266  คน
ลักษณะภูมิประเทศ
                บ้านท่าประดู่ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบชายฝั่ง อยู่ติดทะเล  โดยทั่วไป มี 2  ฤดู
คือฤดูฝนและฤดูร้อน  ในฤดูร้อน อากาศค่อนข้างร้อน เนื่องจากอยู่ติดทะเล มีลมทะเลพัดเอาความร้อนเข้ามา
สภาพทางเศรษฐกิจ
                - ประชากรมีรายได้เฉลี่ย                    34,750.99              บาท/คน/ปี
                - ครัวเรือนมีการออมร้อยละ                     83.3
                - ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา  สวนปาล์มน้ำมัน และอาชีพประมง
เป็นอาชีพหลัก
               - ประชาชน มีไฟฟ้าใช้ ทุกครัวเรือน มีเส้นทางคมนาคมสะดวก เป็นถนนลาดยางทั้งหมู่บ้าน  การขนส่งผลผลิตไปจำหน่ายสะดวกทั้งปี
สภาพทางสังคม
              -   สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านท่าประดู่ มีความมั่นคงถาวร มีการจัดระเบียบบ้านเรือนถูก   สุขลักษณะ  ครัวเรือนมีความอบอุ่น
-   ประชาชนส่วนใหญ่มีสุขภาพดี คนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
 100 % 
                -   เด็กและเยาวชน ได้รับการศึกษาภาคบังคับทุกคน ประชาชนอายุระหว่าง 15 – 60 ปี     อ่านออกเขียนได้เป็นส่วนใหญ่    
                -   คนพิการและคนสูงอายุได้รับการดูแลอย่างดี
                -   ครัวเรือนในหมู่บ้านท่าประดู่  ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มที่ตั้งขึ้นในตำบล
ประเพณี
                ชาวชุมชนบ้านท่าประดู่ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งจะมีประเพณีที่สำคัญ คือประเพณีการถือศีลอด  ในเดือนรอมาฎอน คือเดือนแห่งการถือศีลอด และวันราญอฟิตตรีห์
(ราญอปอซอ) หรือประเพณีการออกบวชซึ่งจัดขึ้นหลังจากประเพณีการถือศีลอด ขาวชุมชนจะช่วยกันทำความสะอาดสุสาน(กุโบ) และทำอาหารแจกจ่ายกันระหว่างเพื่อนบ้านและเครือญาติ
    

                                                   …………………………………..    

บ้านคลองแค
                ตั้งอยู่  หมู่ที่ 5 ตำบลห้วยน้ำขาว  อำเภอคลองท่อม  จังหวัดกระบี่ เป็นหมู่บ้านที่ตั้งมานานสมัยก่อตั้งอำเภอ การตั้งชื่อหมู่บ้าน ตั้งตามลักษณะภูมิประเทศ  โดยมีคลองแคกั้นอาณาเขคระหว่างหมู่ที่ 7  ตำบลคลองท่อมใต้ และหมู่ที่ 5  ตำบลห้วยน้ำขาว เมื่อมีการก่อตั้งหมู่บ้าน จึงให้ชื่อว่า
“ บ้านคลองแค “  ชาวบ้านคลองแค ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม  มีนิสัยรักสงบ อยู่แบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกับแบบเครือญาติ
ที่ตั้ง  บ้านคลองแค  ตั้งอยู่ในตำบลห้วยน้ำขาว ห่างจากหมู่ที่ 2 ตำบลคลองท่อมใต้ ซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ   7    กิโลเมตร
อาณาเขต 
                ทิศเหนือ                จด           หมู่ที่ 8 บ้านควน  คำบลห้วยน้ำขาว
                ทิศใต้                     จด           หมู่ที่ 1  บ้านเหนือ  ตำบลคลองท่อมใต้
                ทิศตะวันตก          จด           หมู่ที่ 7  บ้านนา  ตำบลห้วยน้ำขาว
                ทิศตะวันออก       จด           หมู่ที่ 7  บ้านใต้  ตำบลคลองท่อมใต้
อาชีพ
                ชาวบ้านคลองแค ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทำสวนปาล์มน้ำมัน  และ สวนยางพารา  เป็นอาชีพหลัก
ศาสนา
                ชาวชุมชนบ้านคลองแค ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประมาณ  95  %
ลักษณะทั่วไปของบ้านคลองแค
                - มีเนื้อที่  ประมาณ              2,285 ไร่
                - มีจำนวนครัวเรือน            71   ครัวเรือน
                - มีประชากรทั้งหมด           266 คน ชาย  146  คน  หญิง  120  คน
ลักษณะภูมิประเทศ
                บ้านคลองแค มีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบ โดยทั่วไป มี 2  ฤดูคือฤดูฝนและฤดูร้อน  ในฤดูร้อน อากาศค่อนข้างร้อน
สภาพทางเศรษฐกิจ
                - ประชากรมีรายได้เฉลี่ย                    40,802.04              บาท/คน/ปี
                - ครัวเรือนมีการออมร้อยละ                      94.40
                - ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา  สวนปาล์มน้ำมัน เป็นอาชีพหลัก
               - ประชาชน มีไฟฟ้าใช้ ทุกครัวเรือน มีเส้นทางคมนาคมสะดวก เป็นถนนลาดยางทั้งหมู่บ้าน  การขนส่งผลผลิตไปจำหน่ายสะดวกทั้งปี
สภาพทางสังคม
              -   สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านคลองแค มีความมั่นคงถาวร มีการจัดระเบียบบ้านเรือนถูก   สุขลักษณะ  ครัวเรือนมีความอบอุ่น
-   ประชาชนส่วนใหญ่มีสุขภาพดี คนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
 100 % 
                -   เด็กและเยาวชน ได้รับการศึกษาภาคบังคับทุกคน ประชาชนอายุระหว่าง 15 – 60 ปี     อ่านออกเขียนได้เป็นส่วนใหญ่    
                -   คนพิการและคนสูงอายุได้รับการดูแลอย่างดี
                -   ครัวเรือนในหมู่บ้านคลองแค  ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มที่ตั้งขึ้นในตำบล
ประเพณี
                ชาวชุมชนบ้านคลองแคส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งจะมีประเพณีที่สำคัญ คือประเพณีการถือศีลอด  ในเดือนรอมาฎอน คือเดือนแห่งการถือศีลอด และวันราญอฟิตตรีห์
(ราญอปอซอ) หรือประเพณีการออกบวชซึ่งจัดขึ้นหลังจากประเพณีการถือศีลอด ขาวชุมชนจะช่วยกันทำความสะอาดสุสาน(กุโบ) และทำอาหารแจกจ่ายกันระหว่างเพื่อนบ้านและเครือญาติ
    

                                                   ……………...........................